ความตกลงการค้าเสรี อาเซียน - เกาหลี (HS 2017 มีผลบังคับใช้ตั้งแต่วันที่ 1 กันยายน 2562)
14 มกราคม 2566
40971
ความตกลงการค้าเสรี
อาเซียน –
เกาหลี
(
ASEAN – Republic of Korea Free Trade Agreement: AKFTA )
วัตถุประสงค์ |
เพื่อขยายความร่วมมือทางเศรษฐกิจระหว่างประเทศสมาชิกอาเซียน 10 ประเทศ (บรูไนดารุสชาลาม กัมพูชา อินโดนีเซีย สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว มาเลเซีย เมียนมา สาธารณรัฐฟิลิปปินส์ สาธารณรัฐสิงคโปร์ ราชอาณาจักรไทย) และสาธารณรัฐเกาหลี โดยมุ่งขยายการค้าและการลงทุนระหว่างกัน เพื่อให้ประเทศภาคีความตกลงฯ สามารถลดความเหลื่อมล้ำในการพัฒนาให้น้อยลง |
มีผลบังคับใช้ |
1 กันยายน 2562 |
ขอบเขตของสินค้า |
เกาหลี ให้สิทธิพิเศษฯ แก่สินค้าเกือบทุกรายการ ยกเว้นเพียงสินค้า Exclusion List ซึ่งมีไม่เกิน 3%
ไทย
ให้สิทธิพิเศษฯ แก่สินค้าเกือบทุกรายการ ยกเว้นเพียงสินค้า Exclusion List ซึ่งมีไม่เกิน 3%
|
การลดหย่อนภาษี
ตารางรายการสินค้าที่สาธารณรัฐเกาหลีใช้อัตราอากรศุลกากรตามหลักการต่างตอบแทนภายใต้ความตกลงAKFTA กับไทย
|
-
สินค้าปกติ (จำนวน 90% ของสินค้าทั้งหมด) แบ่งการลดเป็น 2 ส่วน
- ลดอัตราภาษีเป็น 0 ทันที จำนวน 9,927 รายการ
- ลดอัตราภาษีเป็น 0 ภายใน 1 ม.ค. 2553 จำนวน 475 รายการ
เช่น เครื่องจักร เครื่องไช้ไฟฟ้า มอร์เตอร์ ยางรถยนต์ แผ่นชิ้นไม้อัด กากน้ำตาล น้ำตาลดิบ เส้นด้าย เนื้อปลา
-
สินค้าอ่อนไหว (จำนวน 10% ของสินค้าทั้งหมด) แบ่งการลดเป็น 2 ส่วน
-
Sensitive Track (ST) รายการสินค้าอ่อนไหว (Sensitive List) แบ่งเป็น 2 กลุ่ม คือ
- กลุ่ม 1 ลดภาษีให้เหลือไม่เกิน 20% ภายใน 1 ม.ค. 2555
- กลุ่ม 2 ลดภาษีให้เหลือ 0-5% ภายใน 1 ม.ค. 2559 เช่น ไม้อัดอื่นๆ บอลล์แบริ่ง ข้าวโพดหวาน มันสำปะหลังแช่แข็ง
-
Highly Sensitive Track (HST) รายการสินค้าอ่อนไหวสูง (Highly Sensitive List) แบ่งเป็น 5 กลุ่ม คือ
- กลุ่ม A ลดภาษีให้เหลือไม่เกิน 50% ภายใน 1 ม.ค. 2559 เช่น กุ้งแช่เย็น ชีส ส้ม แอปเปิ้ล และลูกแพร์
- กลุ่ม B ลดภาษีลง 20% จากปัจจุบัน ภายใน 1 ม.ค. 2559 เช่น มันสำปะหลังอัดเม็ด โมดิโฟด์สตาร์ซ ผลไม้กระป๋อง ผลไม้แช่แข็ง น้ำตาลทราย
- กลุ่ม C ลดภาษีลง 50% จากปัจจุบัน ภายใน 1 ม.ค. 2559 เช่น ข้าวโพด สตาร์ซอื่นๆ แตงอื่นๆ เบียร์ กาว
- กลุ่ม D สินค้าโควตาภาษี เช่น กุ้งแช่แข็ง แช่เย็น แป้งมันสำปะหลัง ผลิตภัณฑ์มันสำปะหลัง ปลาหมึก กุ้งแปรรูป
- กลุ่ม E สินค้าไม่ลดภาษี เช่น ข้าว ไฟเบอร์บอร์ด ไก่สด แช่เย็น แช่เข็งและแปรรูป ปลาทูน่ากระป๋อง ผลไม้สด
ตารางการลดภาษีนำเข้าของแต่ละประเทศสมาชิก (HS 2017)
เกาหลี ไทย ฟิลิปปินส์ มาเลเซีย บรูไน สิงคโปร์ อินโดนีเซีย กัมพูชา เมียนมา ลาว เวียดนาม
สามารถตรวจสอบรายการสินค้าที่ได้รับการลดภาษีภายใต้หลักการต่างตอบแทน (reciprocal arrangement) ระหว่างไทยและสาธารณรัฐเกาหลี
ได้ที่นี่ |
กฎว่าด้วยถิ่นกำเนิดสินค้า
- กฎทั่วไป
ซึ่งเป็นกฎหลักหรือกฎทั่วไป
ใช้กับทุกสินค้า
|
หลักเกณฑ์ว่าด้วยถิ่นกำเนิดสินค้า
- ผลิตภัณฑ์ที่ได้มาหรือผลิตขึ้นโดยใช้วัตถุดิบภายในประเทศทั้งหมด (Wholly Obtained Goods) หรือ
- ผลิตภัณฑ์ที่ได้มาหรือผลิตขึ้นโดยมิได้ใช้วัตถุดิบภายในประเทศทั้งหมด โดยมีสัดส่วนของวัตถุดิบที่มีถิ่นกำเนิดภายในกลุ่มประเทศภาคี (อาเซียนและเกาหลี) ไม่น้อยกว่า 40% ของราคา F.O.B. หรือ
- ผลิตภัณฑ์ที่ได้ผ่านกระบวนการผลิตจนเกิดการเปลี่ยนแปลงพิกัดศุลกากรในระดับ 4 หลัก (Change of Tariff Heading)
กฎว่าด้วยถิ่นกำเนิดสินค้า (Rules of Origin) และ ระเบียบปฏิบัติฯ (Operational Certification Procedure) ที่ปรับปรุงใหม่
|
- กฎเฉพาะสินค้า (Product Specific Rules : PSR) |
เป็นกฎที่ใช้กับสินค้าเฉพาะรายการ หรือ กฎที่ยกเว้นจากกฎทั่วไป
(กฎถิ่นกำเนิดเฉพาะสินค้า HS2017) |
การขอใช้สิทธิลดหย่อนภาษีภายใต้ FTA อาเซียน-เกาหลี |
สินค้าที่กำเนิดหรือผลิตได้ดังกล่าวข้างต้น จะต้องมีหนังสือรับรองถิ่นกำเนิดสินค้า Form AK
โดยดำเนินการออกหนังสือรับรอง Form AK ตามประกาศกรมการค้าต่างประเทศ เรื่อง การออกหนังสือรับรองถิ่นกําเนิดสินค้าตามความตกลงว่าด้วยการค้าสินค้าภายใต้กรอบความตกลงว่าด้วยความร่วมมือทางเศรษฐกิจที่ครอบคลุมด้านต่างๆ ระหว่างรัฐบาลแห่งกลุ่มประเทศสมาชิกสมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และสาธารณรัฐเกาหลีพ.ศ. 2558
|
ความตกลงการค้าเสรี
อาเซียน –
เกาหลี
(
ASEAN – Republic of Korea Free Trade Agreement: AKFTA )
วัตถุประสงค์ |
เพื่อขยายความร่วมมือทางเศรษฐกิจระหว่างประเทศสมาชิกอาเซียน 10 ประเทศ (บรูไนดารุสชาลาม กัมพูชา อินโดนีเซีย สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว มาเลเซีย เมียนมา สาธารณรัฐฟิลิปปินส์ สาธารณรัฐสิงคโปร์ ราชอาณาจักรไทย) และสาธารณรัฐเกาหลี โดยมุ่งขยายการค้าและการลงทุนระหว่างกัน เพื่อให้ประเทศภาคีความตกลงฯ สามารถลดความเหลื่อมล้ำในการพัฒนาให้น้อยลง |
มีผลบังคับใช้ |
1 กันยายน 2562 |
ขอบเขตของสินค้า |
เกาหลี ให้สิทธิพิเศษฯ แก่สินค้าเกือบทุกรายการ ยกเว้นเพียงสินค้า Exclusion List ซึ่งมีไม่เกิน 3%
ไทย
ให้สิทธิพิเศษฯ แก่สินค้าเกือบทุกรายการ ยกเว้นเพียงสินค้า Exclusion List ซึ่งมีไม่เกิน 3%
|
การลดหย่อนภาษี
ตารางรายการสินค้าที่สาธารณรัฐเกาหลีใช้อัตราอากรศุลกากรตามหลักการต่างตอบแทนภายใต้ความตกลงAKFTA กับไทย
|
-
สินค้าปกติ (จำนวน 90% ของสินค้าทั้งหมด) แบ่งการลดเป็น 2 ส่วน
- ลดอัตราภาษีเป็น 0 ทันที จำนวน 9,927 รายการ
- ลดอัตราภาษีเป็น 0 ภายใน 1 ม.ค. 2553 จำนวน 475 รายการ
เช่น เครื่องจักร เครื่องไช้ไฟฟ้า มอร์เตอร์ ยางรถยนต์ แผ่นชิ้นไม้อัด กากน้ำตาล น้ำตาลดิบ เส้นด้าย เนื้อปลา
-
สินค้าอ่อนไหว (จำนวน 10% ของสินค้าทั้งหมด) แบ่งการลดเป็น 2 ส่วน
-
Sensitive Track (ST) รายการสินค้าอ่อนไหว (Sensitive List) แบ่งเป็น 2 กลุ่ม คือ
- กลุ่ม 1 ลดภาษีให้เหลือไม่เกิน 20% ภายใน 1 ม.ค. 2555
- กลุ่ม 2 ลดภาษีให้เหลือ 0-5% ภายใน 1 ม.ค. 2559 เช่น ไม้อัดอื่นๆ บอลล์แบริ่ง ข้าวโพดหวาน มันสำปะหลังแช่แข็ง
-
Highly Sensitive Track (HST) รายการสินค้าอ่อนไหวสูง (Highly Sensitive List) แบ่งเป็น 5 กลุ่ม คือ
- กลุ่ม A ลดภาษีให้เหลือไม่เกิน 50% ภายใน 1 ม.ค. 2559 เช่น กุ้งแช่เย็น ชีส ส้ม แอปเปิ้ล และลูกแพร์
- กลุ่ม B ลดภาษีลง 20% จากปัจจุบัน ภายใน 1 ม.ค. 2559 เช่น มันสำปะหลังอัดเม็ด โมดิโฟด์สตาร์ซ ผลไม้กระป๋อง ผลไม้แช่แข็ง น้ำตาลทราย
- กลุ่ม C ลดภาษีลง 50% จากปัจจุบัน ภายใน 1 ม.ค. 2559 เช่น ข้าวโพด สตาร์ซอื่นๆ แตงอื่นๆ เบียร์ กาว
- กลุ่ม D สินค้าโควตาภาษี เช่น กุ้งแช่แข็ง แช่เย็น แป้งมันสำปะหลัง ผลิตภัณฑ์มันสำปะหลัง ปลาหมึก กุ้งแปรรูป
- กลุ่ม E สินค้าไม่ลดภาษี เช่น ข้าว ไฟเบอร์บอร์ด ไก่สด แช่เย็น แช่เข็งและแปรรูป ปลาทูน่ากระป๋อง ผลไม้สด
ตารางการลดภาษีนำเข้าของแต่ละประเทศสมาชิก (HS 2017)
เกาหลี ไทย ฟิลิปปินส์ มาเลเซีย บรูไน สิงคโปร์ อินโดนีเซีย กัมพูชา เมียนมา ลาว เวียดนาม
สามารถตรวจสอบรายการสินค้าที่ได้รับการลดภาษีภายใต้หลักการต่างตอบแทน (reciprocal arrangement) ระหว่างไทยและสาธารณรัฐเกาหลี
ได้ที่นี่ |
กฎว่าด้วยถิ่นกำเนิดสินค้า
- กฎทั่วไป
ซึ่งเป็นกฎหลักหรือกฎทั่วไป
ใช้กับทุกสินค้า
|
หลักเกณฑ์ว่าด้วยถิ่นกำเนิดสินค้า
- ผลิตภัณฑ์ที่ได้มาหรือผลิตขึ้นโดยใช้วัตถุดิบภายในประเทศทั้งหมด (Wholly Obtained Goods) หรือ
- ผลิตภัณฑ์ที่ได้มาหรือผลิตขึ้นโดยมิได้ใช้วัตถุดิบภายในประเทศทั้งหมด โดยมีสัดส่วนของวัตถุดิบที่มีถิ่นกำเนิดภายในกลุ่มประเทศภาคี (อาเซียนและเกาหลี) ไม่น้อยกว่า 40% ของราคา F.O.B. หรือ
- ผลิตภัณฑ์ที่ได้ผ่านกระบวนการผลิตจนเกิดการเปลี่ยนแปลงพิกัดศุลกากรในระดับ 4 หลัก (Change of Tariff Heading)
กฎว่าด้วยถิ่นกำเนิดสินค้า (Rules of Origin) และ ระเบียบปฏิบัติฯ (Operational Certification Procedure) ที่ปรับปรุงใหม่
|
- กฎเฉพาะสินค้า (Product Specific Rules : PSR) |
เป็นกฎที่ใช้กับสินค้าเฉพาะรายการ หรือ กฎที่ยกเว้นจากกฎทั่วไป
(กฎถิ่นกำเนิดเฉพาะสินค้า HS2017) |
การขอใช้สิทธิลดหย่อนภาษีภายใต้ FTA อาเซียน-เกาหลี |
สินค้าที่กำเนิดหรือผลิตได้ดังกล่าวข้างต้น จะต้องมีหนังสือรับรองถิ่นกำเนิดสินค้า Form AK
โดยดำเนินการออกหนังสือรับรอง Form AK ตามประกาศกรมการค้าต่างประเทศ เรื่อง การออกหนังสือรับรองถิ่นกําเนิดสินค้าตามความตกลงว่าด้วยการค้าสินค้าภายใต้กรอบความตกลงว่าด้วยความร่วมมือทางเศรษฐกิจที่ครอบคลุมด้านต่างๆ ระหว่างรัฐบาลแห่งกลุ่มประเทศสมาชิกสมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และสาธารณรัฐเกาหลีพ.ศ. 2558
|