เปลี่ยนการแสดงผล

โครงการ GSP ของรัฐเซียและเครือรัฐเอกราช

โครงการ GSP ของ รัสเซียและเครือรัฐเอกราช

 

รายละเอียด

ระบบ GSP

สหภาพเศรษฐกิจยูเรเซีย (EAEU)

ระบบ GSP

เครือรัฐเอกราช (CIS)

การให้สิทธิ

สหภาพเศรษฐกิจยูเรเซีย (Eurasian Economic Union: EAEU) 5ประเทศ ได้แก่
1) สหพันธรัฐรัสเซีย
2) สาธารณรัฐเบลารุส
3) สาธารณรัฐคาซัคสถาน
4) สาธารณรัฐอาร์เมเนีย
5) สาธารณรัฐคีร์กีซ
ให้สิทธิพิเศษทางภาษีศุลกากรเป็นการทั่วไป (Generalized System of Preferences: GSP) แก่ประเทศกำลังพัฒนาและประเทศพัฒนาน้อยที่สุดรวมทั้ง ประเทศไทย โดยเริ่มมีผลบังคับใช้ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2553


ข้อมูลล่าสุด !
EAEU ประกาศเพิกถอนสิทธิฯ GSP ที่ให้แก่ประเทศกำลังพัฒนา รวมถึงประเทศไทย เพราะมีระดับการพัฒนาทางเศรษฐกิจสูงเกินเกณฑ์ที่กำหนด (เดิมมีประเทศกำลังพัฒนาได้รับสิทธิ GSP รวม 103 ประเทศ คงเหลือ 29 ประเทศ) ส่งผลให้สินค้าไทยที่เคยได้รับสิทธิ GSP ดังกล่าว ต้องกลับไปเสียภาษีนำเข้าในอัตราปกติ (MFN Rate) ตั้งแต่วันที่ 12 ตุลาคม 2564 เป็นต้นไป รายละเอียดประกาศและรายชื่อประเทศผู้ได้รับสิทธิปรากฏตาม QR Code                                 

                                       

กลุ่มประเทศเครือรัฐเอกราช (Commonwealth of Independent States: CIS) 12ประเทศ ได้แก่
1) สาธารณรัฐอาเซอร์ไบจาน
2) สาธารณรัฐอาร์เมเนีย
3) สาธารณรัฐเบลารุส
4) สาธารณรัฐจอร์เจีย
5) สาธารณรัฐคาซัคสถาน
6) สาธารณรัฐคีร์กีซ
7) สาธารณรัฐมอลโดวา
8) สหพันธรัฐรัสเซีย
9) สาธารณรัฐทาจิกิสถาน
10) เติร์กเมนิสถาน
11) สาธารณรัฐอุซเบกิสถาน
12) ยูเครน
ให้สิทธิพิเศษทางภาษีศุลกากรเป็นการทั่วไป (Generalized System of Preferences: GSP)แก่ประเทศกำลังพัฒนารวมทั้งประเทศไทยเป็นระยะเวลานานกว่า40ปีโดยเริ่มให้สิทธิฯตั้งแต่
วันที่1มกราคม2508

ระยะเวลาของโครงการ

ไม่ได้ระบุ

ไม่ได้ระบุ

ประเทศที่ได้รับสิทธิ

รายชื่อประเทศที่ได้รับสิทธิ

โปรดดูข้อมูลที่
เอกสารแนบท้ายตาราง

GSP ของ CIS

การลดหย่อนภาษี

อัตราภาษีศุลกากรขาเข้าปกติ
ลดหย่อนลงร้อยละ 25

อัตราภาษีศุลกากรขาเข้าปกติ
ลดหย่อนลงร้อยละ 25

ขอบเขตของสินค้า

รายการสินค้าที่ได้รับสิทธิ

และ

อัตราภาษีนำเข้าปกติของEAEU

โปรดดูข้อมูลที่
เอกสารแนบท้ายตาราง

GSP ของ CIS

กฎว่าด้วย
แหล่งกำเนิดสินค้า

1) ใช้วัตถุดิบภายในประเทศที่รับสิทธิทั้งหมด (Wholly Obtained)

หรือ

2) สินค้าผ่านการแปรสภาพอย่างเพียงพอ (Sufficiently Processed) โดยกำหนดให้มูลค่าวัตถุดิบที่ไม่ได้ถิ่นกำเนิด (วัตถุดิบที่มีถิ่นกำเนิดจากประเทศที่ไม่ได้รับสิทธิหรือมีถิ่นกำเนิดไม่แน่ชัด) ต้องไม่เกินร้อยละ 50 ของมูลค่าสินค้าส่งออก

ทั้งนี้ มูลค่าสินค้าส่งออกกำหนดจากราคาหน้าโรงงาน (Ex-work Price)

3) วัตถุดิบที่มีถิ่นกำเนิดในประเทศกำลังพัฒนา ที่นำมาผลิตเป็นสินค้าขั้นสุดท้ายในประเทศกำลังพัฒนา ถือว่าได้ถิ่นกำเนิด (กล่าวคือ สามารถสะสมถิ่นกำเนิดได้ระหว่างประเทศกำลังพัฒนาเท่านั้น)

4) วัตถุดิบที่มีถิ่นกำเนิดในประเทศสมาชิก EAEU นำมาผลิตเป็นสินค้าขั้นสุดท้ายในประเทศกำลังพัฒนา ถือว่าได้ถิ่นกำเนิด (กล่าวคือ สามารถนำวัตถุดิบจากประเทศสมาชิก EAEU มาสะสมถิ่นกำเนิด)

กฎถิ่นกำเนิดสินค้าของ EAEU (มีผลบังคับใช้ตั้งแต่วันที่ 16 มกราคม 2562)

1) ต้องเป็นสินค้าที่มีแหล่งกำเนิดทั้งหมดในประเทศผู้ผลิต (Wholly obtained product)

หรือ

กรณีมีวัตถุดิบจากต่างประเทศต้องไม่เกินร้อยละ50ของราคาสินค้าจากโรงงาน (Ex-factory Price)

2) สามารถใช้กฎแหล่งกำเนิดสินค้าแบบสะสมจากประเทศผู้รับสิทธิอื่นได้

3) สามารถใช้กฎว่าด้วยการใช้วัตถุดิบนำเข้าจากประเทศผู้ให้สิทธิ (Donor Country Content)

 

 

 

โปรดดูข้อมูลที่
เอกสารแนบท้ายตาราง

GSP ของ CIS

เอกสารในการ
ขอใช้สิทธิ

หนังสือรับรองถิ่นกำเนิดสินค้า Form A ที่ออกโดย กรมการค้าต่างประเทศ
นำไปแสดงต่อศุลกากรของประเทศผู้นำเข้า

หรือ

ในกรณีที่สินค้ามีมูลค่าไม่เกิน 5,000 ยูโร ผู้ผลิต ผู้ขาย หรือ ผู้ส่งสินค้า สามารถรับรองถิ่นกำเนิดสินค้าบนเอกสารการค้า หรือ เอกสารอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับสินค้า โดยจะต้องระบุข้อความตามที่ EAEU กำหนดไว้ ได้ทั้งภาษาอังกฤษหรือฝรั่งเศส พร้อมทั้ง ลงนามและลงวันที่รับรองในเอกสาร นำไปแสดงต่อศุลกากรของประเทศผู้นำเข้า ทั้งนี้ ศุลกากรประเทศปลายทางมีอำนาจในการขอหนังสือรับรองถิ่นกำเนิดสินค้า Form A เพิ่มเติมได้ หากพบว่าการรับรองถิ่นกำเนิดสินค้าด้วยตัวเองไม่น่าเชื่อถือ

หนังสือรับรองแหล่งกำเนิดสินค้าForm A ที่ออกโดย กรมการค้าต่างประเทศ
นำไปแสดงต่อศุลกากรของประเทศผู้นำเข้า

Website
ที่เป็นประโยชน์

Eurasian Economic Commission

WTO (List of PTAs)

Ministry for Economic Development of the Russian Federation

CIS (ภาษารัสเซีย)

 

ที่มา: กองสิทธิประโยชน์ทางการค้า โดยความร่วมมือจาก สำนักงานส่งเสริมการค้าในต่างประเทศ ณ กรุงมอสโก

 

 เอกสารแนบ

โครงการ GSP ของ รัสเซียและเครือรัฐเอกราช

 

รายละเอียด

ระบบ GSP

สหภาพเศรษฐกิจยูเรเซีย (EAEU)

ระบบ GSP

เครือรัฐเอกราช (CIS)

การให้สิทธิ

สหภาพเศรษฐกิจยูเรเซีย (Eurasian Economic Union: EAEU) 5ประเทศ ได้แก่
1) สหพันธรัฐรัสเซีย
2) สาธารณรัฐเบลารุส
3) สาธารณรัฐคาซัคสถาน
4) สาธารณรัฐอาร์เมเนีย
5) สาธารณรัฐคีร์กีซ
ให้สิทธิพิเศษทางภาษีศุลกากรเป็นการทั่วไป (Generalized System of Preferences: GSP) แก่ประเทศกำลังพัฒนาและประเทศพัฒนาน้อยที่สุดรวมทั้ง ประเทศไทย โดยเริ่มมีผลบังคับใช้ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2553


ข้อมูลล่าสุด !
EAEU ประกาศเพิกถอนสิทธิฯ GSP ที่ให้แก่ประเทศกำลังพัฒนา รวมถึงประเทศไทย เพราะมีระดับการพัฒนาทางเศรษฐกิจสูงเกินเกณฑ์ที่กำหนด (เดิมมีประเทศกำลังพัฒนาได้รับสิทธิ GSP รวม 103 ประเทศ คงเหลือ 29 ประเทศ) ส่งผลให้สินค้าไทยที่เคยได้รับสิทธิ GSP ดังกล่าว ต้องกลับไปเสียภาษีนำเข้าในอัตราปกติ (MFN Rate) ตั้งแต่วันที่ 12 ตุลาคม 2564 เป็นต้นไป รายละเอียดประกาศและรายชื่อประเทศผู้ได้รับสิทธิปรากฏตาม QR Code                                 

                                       

กลุ่มประเทศเครือรัฐเอกราช (Commonwealth of Independent States: CIS) 12ประเทศ ได้แก่
1) สาธารณรัฐอาเซอร์ไบจาน
2) สาธารณรัฐอาร์เมเนีย
3) สาธารณรัฐเบลารุส
4) สาธารณรัฐจอร์เจีย
5) สาธารณรัฐคาซัคสถาน
6) สาธารณรัฐคีร์กีซ
7) สาธารณรัฐมอลโดวา
8) สหพันธรัฐรัสเซีย
9) สาธารณรัฐทาจิกิสถาน
10) เติร์กเมนิสถาน
11) สาธารณรัฐอุซเบกิสถาน
12) ยูเครน
ให้สิทธิพิเศษทางภาษีศุลกากรเป็นการทั่วไป (Generalized System of Preferences: GSP)แก่ประเทศกำลังพัฒนารวมทั้งประเทศไทยเป็นระยะเวลานานกว่า40ปีโดยเริ่มให้สิทธิฯตั้งแต่
วันที่1มกราคม2508

ระยะเวลาของโครงการ

ไม่ได้ระบุ

ไม่ได้ระบุ

ประเทศที่ได้รับสิทธิ

รายชื่อประเทศที่ได้รับสิทธิ

โปรดดูข้อมูลที่
เอกสารแนบท้ายตาราง

GSP ของ CIS

การลดหย่อนภาษี

อัตราภาษีศุลกากรขาเข้าปกติ
ลดหย่อนลงร้อยละ 25

อัตราภาษีศุลกากรขาเข้าปกติ
ลดหย่อนลงร้อยละ 25

ขอบเขตของสินค้า

รายการสินค้าที่ได้รับสิทธิ

และ

อัตราภาษีนำเข้าปกติของEAEU

โปรดดูข้อมูลที่
เอกสารแนบท้ายตาราง

GSP ของ CIS

กฎว่าด้วย
แหล่งกำเนิดสินค้า

1) ใช้วัตถุดิบภายในประเทศที่รับสิทธิทั้งหมด (Wholly Obtained)

หรือ

2) สินค้าผ่านการแปรสภาพอย่างเพียงพอ (Sufficiently Processed) โดยกำหนดให้มูลค่าวัตถุดิบที่ไม่ได้ถิ่นกำเนิด (วัตถุดิบที่มีถิ่นกำเนิดจากประเทศที่ไม่ได้รับสิทธิหรือมีถิ่นกำเนิดไม่แน่ชัด) ต้องไม่เกินร้อยละ 50 ของมูลค่าสินค้าส่งออก

ทั้งนี้ มูลค่าสินค้าส่งออกกำหนดจากราคาหน้าโรงงาน (Ex-work Price)

3) วัตถุดิบที่มีถิ่นกำเนิดในประเทศกำลังพัฒนา ที่นำมาผลิตเป็นสินค้าขั้นสุดท้ายในประเทศกำลังพัฒนา ถือว่าได้ถิ่นกำเนิด (กล่าวคือ สามารถสะสมถิ่นกำเนิดได้ระหว่างประเทศกำลังพัฒนาเท่านั้น)

4) วัตถุดิบที่มีถิ่นกำเนิดในประเทศสมาชิก EAEU นำมาผลิตเป็นสินค้าขั้นสุดท้ายในประเทศกำลังพัฒนา ถือว่าได้ถิ่นกำเนิด (กล่าวคือ สามารถนำวัตถุดิบจากประเทศสมาชิก EAEU มาสะสมถิ่นกำเนิด)

กฎถิ่นกำเนิดสินค้าของ EAEU (มีผลบังคับใช้ตั้งแต่วันที่ 16 มกราคม 2562)

1) ต้องเป็นสินค้าที่มีแหล่งกำเนิดทั้งหมดในประเทศผู้ผลิต (Wholly obtained product)

หรือ

กรณีมีวัตถุดิบจากต่างประเทศต้องไม่เกินร้อยละ50ของราคาสินค้าจากโรงงาน (Ex-factory Price)

2) สามารถใช้กฎแหล่งกำเนิดสินค้าแบบสะสมจากประเทศผู้รับสิทธิอื่นได้

3) สามารถใช้กฎว่าด้วยการใช้วัตถุดิบนำเข้าจากประเทศผู้ให้สิทธิ (Donor Country Content)

 

 

 

โปรดดูข้อมูลที่
เอกสารแนบท้ายตาราง

GSP ของ CIS

เอกสารในการ
ขอใช้สิทธิ

หนังสือรับรองถิ่นกำเนิดสินค้า Form A ที่ออกโดย กรมการค้าต่างประเทศ
นำไปแสดงต่อศุลกากรของประเทศผู้นำเข้า

หรือ

ในกรณีที่สินค้ามีมูลค่าไม่เกิน 5,000 ยูโร ผู้ผลิต ผู้ขาย หรือ ผู้ส่งสินค้า สามารถรับรองถิ่นกำเนิดสินค้าบนเอกสารการค้า หรือ เอกสารอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับสินค้า โดยจะต้องระบุข้อความตามที่ EAEU กำหนดไว้ ได้ทั้งภาษาอังกฤษหรือฝรั่งเศส พร้อมทั้ง ลงนามและลงวันที่รับรองในเอกสาร นำไปแสดงต่อศุลกากรของประเทศผู้นำเข้า ทั้งนี้ ศุลกากรประเทศปลายทางมีอำนาจในการขอหนังสือรับรองถิ่นกำเนิดสินค้า Form A เพิ่มเติมได้ หากพบว่าการรับรองถิ่นกำเนิดสินค้าด้วยตัวเองไม่น่าเชื่อถือ

หนังสือรับรองแหล่งกำเนิดสินค้าForm A ที่ออกโดย กรมการค้าต่างประเทศ
นำไปแสดงต่อศุลกากรของประเทศผู้นำเข้า

Website
ที่เป็นประโยชน์

Eurasian Economic Commission

WTO (List of PTAs)

Ministry for Economic Development of the Russian Federation

CIS (ภาษารัสเซีย)

 

ที่มา: กองสิทธิประโยชน์ทางการค้า โดยความร่วมมือจาก สำนักงานส่งเสริมการค้าในต่างประเทศ ณ กรุงมอสโก